แอมัลเธีย บ้างเรียก จูปิเตอร์ 5 เป็นดาวบริวารของดาวพฤหัสบดี มีระยะทางห่างจากดาวแม่เป็นอันดับที่ 3 ค้นพบเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2435 โดยเอดวาร์ด อีเมอร์สัน บาร์นาร์ดและได้ตั้งชื่อตามแอมัลเธียที่เป็นนิมฟ์ในเทพปกรณัมกรีกแอมัลเธียอยู่ในวงโคจรใกล้ดาวพฤหัสบดีและอยู่ที่ในขอบชั้นนอกของชั้นวงแหวนเบาบางแอมัลเธีย ซึ่งเป็นวงแหวนที่เกิดขึ้นจากการสะสมของฝุ่นที่หลุดออกจากพื้นผิวของแอมัลเธีย เมื่อมองจากพื้นผิวของแอมัลเธียจะปรากฏภาพอันน่าอัศจรรย์ใจของดาวพฤหัสบดีขนาดใหญ่ โดยปรากฏขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางราว 46.5 องศา แอมัลเธียเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดาดาวบริวารชั้นในของดาวพฤหัสบดี แอมัลเธียมีรูปร่างที่ไร้รูปทรงและมีสีแดง นักวิทยาศาสตร์คาดว่าแอมัลเธียประกอบขึ้นจากน้ำแข็งที่เป็นรูพรุนซึ่งเจือด้วยสสารอื่น ๆ ที่ยังไม่ทราบแน่ชัด บนพื้นผิวพบร่องรอยของหลุมอุกกาบาตและเทือกเขาสูง มีการถ่ายภาพแอมัลเธียได้ใน พ.ศ. 2522 และ พ.ศ. 2523 โดยยานอวกาศวอยเอจเจอร์ 1 และ 2 และต่อมาในช่วงทศวรรษ 1990 โดยยานอวกาศกาลิเลโอ slotxo แอมัลเธียค้นพบในวันที่ 9 เดือนกันยายน พ.ศ. 2435 โดยเอดวาร์ด อีเมอร์สัน บาร์นาร์ดซึ่งใช้กล้องโทรทรรศน์หักเหแสงขนาด 36 นิ้ว (91 เซนติเมตร) ในหอดูดาวลิกแอมัลเธียเป็นดาวบริวารดวงสุดท้ายที่ค้นพบจากการสังเกตภาพโดยตรง (ตรงข้ามกับการสังเกตจากภาพถ่าย) และเป็นดาวบริวารดวงแรกภายหลังจากที่กาลิเลโอ…
-
Recent Posts
Archives
Categories
Tags
กิจการอวกาศ ขยะอวกาศ จรวด จูปิเตอร์ 5 ดวงจันทร์ ดวงจันทร์แกนีมีด ดวงอาทิตย์ ดาวบริวาร ดาวพฤหัสบดี ดาวพุธ ดาวยูเรนัส ดาวศุกร์ ดาวหาง ดาวอังคาร ดาวเกตุ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเทียม ดาวเนปจูน ดาวเสาร์ ต่างดาว ทฤษฎี ทฤษฎีทางดาราศาสตร์ นักบินอวกาศ นักวิทยาศาสตร์ นาซา บิกแบง ยานสำรวจ ยานอวกาศ ยูโรปา ระบบสุริยะ ลี้ลับ วัตถุขนาดใหญ่ สำรวจอวกาศ ห้วงอวกาศ อวกาศ อาคันตุกะ เอเลี่ยน แม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง แอมัลเธีย โบราณ โลก ใจกลางระบบสุริยะ ไททัน