จีนเปิดตัว “เทียนเหวิน-1” ยานสำรวจหาสัญญาณของสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคาร เตรียมออกเดินทางเร็วๆ นี้ สล็อตออนไลน์ ทางการจีนเปิดตัวยานสำรวจดาวอังคาร “เทียนเหวิน-1” และคาดว่าจะปล่อยจรวดลองมาร์ช-5 “Y4” บรรทุกยานเทียนเหวิน-1 ออกจากศูนย์อวกาศเหวินฉาง มณฑลไหหนาน ทางตอนใต้ของจีน ในเดือนกรกฎาคม หรือไม่ก็สิงหาคม ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของสภาพอากาศ และคาดว่าจะเดินทางถึงดาวอังคารในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ปีหน้ายานเทียนเหวิน-1 ประกอบไปด้วยภารกิจ 3 ส่วน ได้แก่ การเข้าสู่วงโคจร ลงจอดที่พื้นผิวดาวอังคาร และปล่อยยานสำรวจพื้นผิวดาวอังคารออกมา จากนั้นจะอยู่บนดาวอังคารเป็นเวลา 3 เดือนดาวอังคาร (เท่ากับ 92 วันโลก) บนสภาพพื้นผิว โครงสร้างทางภูมิศาสตร์และสภาพอากาศของดาวอังคาร และจะส่งสัญญาณข้อมูลสิ่งที่ค้นพบกลับมายังโลก jumboslot ยานลงจอดและยานสำรวจพื้นผิว มีน้ำหนักรวมกัน 1,300 กิโลกรัม จะถูกปล่อยออกจากยานแม่แล้วลงจอดสู่พื้นผิวดาวอังคารด้วยร่มชูชีพ ในส่วนของยานสำรวจมีความสูง 1.85 เมตร น้ำหนัก 240 กิโลกรัม ภารกิจค้นหาแหล่งน้ำและสัญญาณอื่นๆ ที่บ่งชี้ถึงการมีอยู่ของสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคาร โดยยานสำรวจติดตั้งอุปกรณ์ล้ำสมัยอย่างน้อย 6 ชิ้นรวมไปถึงกล้องธรณีวิทยา กล้องมัลติสเปกตรัมเรดาร์ตรวจจับใต้ผิวดิน และอุปกรณ์ตรวจจับสภาพอากาศ เครดิตฟรี นายหลิว…
ติดตามยานสำรวจของนาซาไปดาวอังคาร
ติดตามยานสำรวจของนาซาไปดาวอังคารความก้าวหน้าของเทคโนโลยีด้านอวกาศ ปัจจุบันมีหลายประเทศส่งยานอวกาศออกไปสำรวจดวงดาวต่างๆ ครั้งล่าสุดก็คือภารกิจ Mars 2020 ขององค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกาหรือองค์การนาซา สล็อตออนไลน์ ที่ส่งยานหุ่นยนต์เพอร์เซเวียแรนซ์ (Perseverance rover) และเฮลิคอปเตอร์อินเจนูอิตี (Mars Helicopter Ingenuity) ไปสำรวจดาวอังคารเมื่อ 30 ก.ค.ที่ผ่านมาถึงแม้ยานกำลังอยู่ในช่วงเดินทางในห้วงอวกาศอันมืดมิด jumboslot ชาวโลกก็สามารถติดตามท่องอวกาศไปพร้อมกับยานหุ่นยนต์เพอร์เซเวียแรนซ์ได้แบบเรียลไทม์หรือตามเวลาจริง ผ่านช่องทางที่องค์การนาซามอบให้ ก็คือเข้าไปที่แอปพลิเคชัน Eyes on the Solar System ที่แสดงให้เห็นถึงข้อมูลการวางแผนเส้นทางของยานหุ่นยนต์เพอร์เซเวียแรนซ์ ซึ่งมุ่งหน้าไปยังดาวอังคารด้วยระยะทางหลายล้านกิโลเมตรในอีก 6 เดือนข้างหน้า โดยจะลงจอดที่บริเวณแอ่งเยเซโร (Jezero Crater) บนดาวเคราะห์สีแดง Eyes on the Solar System ไม่เพียงทำให้เห็นระยะห่างระหว่างดาวเคราะห์และยานอวกาศในขณะนี้ ยังช่วยตรวจสอบความเร็วสัมพัทธ์ระหว่างดาวอังคารกับโลก หรือดาวพลูโตที่ถูกจัดสถานะเป็นดาวเคราะห์แคระ เครดิตฟรี ทั้งยังเลือกการชมแบบ 3 มิติได้ด้วย แต่ต้องมองผ่านแว่นตาที่มีแผ่นฟิลเตอร์ 2 สี คือสีแดงข้างซ้ายและสีฟ้าข้างขวา นอกจากนี้ นาซายังชวนส่องสำรวจโลกด้วยแอปพลิเคชัน Eyes on the…
-
Recent Posts
Archives
Categories
Tags
กิจการอวกาศ ขยะอวกาศ จรวด จูปิเตอร์ 5 ดวงจันทร์ ดวงจันทร์แกนีมีด ดวงอาทิตย์ ดาวบริวาร ดาวพฤหัสบดี ดาวพุธ ดาวยูเรนัส ดาวศุกร์ ดาวหาง ดาวอังคาร ดาวเกตุ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเทียม ดาวเนปจูน ดาวเสาร์ ต่างดาว ทฤษฎี ทฤษฎีทางดาราศาสตร์ นักบินอวกาศ นักวิทยาศาสตร์ นาซา บิกแบง ยานสำรวจ ยานอวกาศ ยูโรปา ระบบสุริยะ ลี้ลับ วัตถุขนาดใหญ่ สำรวจอวกาศ ห้วงอวกาศ อวกาศ อาคันตุกะ เอเลี่ยน แม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง แอมัลเธีย โบราณ โลก ใจกลางระบบสุริยะ ไททัน