ฮือฮา! นักวิทย์ตรวจพบ ‘คลื่นความโน้มถ่วง’ครั้งที่ 2ทีมนักวิทยาศาสตร์โครงการไลโก ตรวจพบคลื่นความโน้มถ่วงเป็นครั้งที่ 2 แล้ว เพียง 4 เดือนหลังจากการประกาศการค้นพบคลื่นนี้ครั้งแรกเมื่อเดือน ก.พ.ที่ผ่านมา สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า ทีมนักวิทยาศาสตร์ที่ หอสังเกตการณ์คลื่นความโน้มถ่วงโดยใช้อินเตอร์เฟอโรมิเตอร์ชนิดเลเซอร์ หรือ ไลโก (Laser Interferometer Gravitational-Wave Observatory: LIGO) ยืนยันในวันพุธที่ 15 มิ.ย. ว่า พวกเขาตรวจพบคลื่นความโน้นถ่วง ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของหลุมดำ 2 ดวงในอวกาศเป็นครั้งที่ 2 แล้ว หลังจากยืนยันการค้นพบครั้งแรกไปเมื่อ 11 ก.พ. สล็อตออนไลน์ ทั้งนี้ คลื่นความโน้มถ่วง หรือ คลื่นที่ทำให้เกิดการกระเพื่อมของปริภูมิ-เวลา (space time) ซึ่งอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ คาดการณ์เอาไว้ใน ‘ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป’ (General relativity) เมื่อปี 1915 โดยเป็นคลื่นที่ปลดปล่อยออกมา เมื่อวัตถุที่มีมวลมากเคลื่อนที่ด้วยความเร่งสูงหรือมีกิจกรรมรุนแรงในอวกาศ เช่น ดาวนิวตรอนคู่หรือหลุมดำคู่โคจรรอบกัน, ซุปเปอร์โนวา, รังสีแกมมาระเบิดในอวกาศ…
นักวิทยาศาสตร์พลเมืองพบดาวแคระน้ำตาล
นักวิทยาศาสตร์พลเมืองพบดาวแคระน้ำตาลดาวแคระน้ำตาลเป็นวัตถุที่เปล่งแสงออกมาจางๆจนดูริบหรี่มาก ซึ่งดาวแคระน้ำตาลมีมวลไม่เพียงพอที่จะเป็นดาวฤกษ์ได้ หรือจะกล่าวได้ว่า ใจกลางของดาวแคระน้ำตาลมีอุณหภูมิและความดันไม่มากพอที่จะจุดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันขึ้นมาได้ วัตถุที่เป็นดาวแคระน้ำตาลจะมีมวลอยู่ระหว่างดาวเคราะห์แก๊สยักษ์ที่ใหญ่ที่สุด กับดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อยสุด ซึ่งตรงกับช่วงค่ามวลระหว่าง 12 – 75 เท่าของมวลดาวพฤหัสบดี ขณะที่ดาวแคระน้ำตาลส่วนใหญ่ถูกพบว่าโคจรรอบดาวฤกษ์ดวงอื่น แต่ดาวแคระน้ำตาลบางดวงเคลื่อนที่ไปอย่างโดดเดี่ยวในห้วงอวกาศ สล็อตออนไลน์ วัตถุประเภทนี้ก่อตัวขึ้นมาด้วยวิธีเดียวกันกับการก่อตัวของดาวฤกษ์ แต่ดาวแคระน้ำตาลจะเปล่งแสงที่มีสีออกไปทางสีน้ำตาล เนื่องจากพลังงานความร้อนที่เกิดขึ้นจากการปะทะกันระหว่างวัสดุภายในตัวดาว jumboslot โครงการวิทยาศาสตร์ของพลเมืองหรือการที่ประชาชนทั่วไปได้มีโอกาสช่วยงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์หลายแขนงเป็นงานอาสาสมัครที่มีกระแสแรงไม่น้อยในปัจจุบัน พวกเขาถูกเรียกว่านักวิทยาศาสตร์พลเมือง (Citizen scientists) หลายคนทำผลงานได้น่าทึ่ง เมื่อเร็วๆนี้ อาสาสมัครของแบล็กยาร์ด เวิลด์ส : พลาเน็ต ไนน์ (Backyard Worlds : Planet 9) เป็นโครงการวิทยาศาสตร์พลเมืองที่ได้รับทุนจากองค์การนาซา มีจุดมุ่งหมายค้นหาดาวแคระน้ำตาลใหม่ๆ เผยว่าจากการใช้บริการหอดูดาวเคค (W. M. Keck Observatory) ในฮาวาย ทำให้ค้นดาวเคราะห์เย็นใกล้ดวงอาทิตย์ประมาณ 100 ดวง ดาวเคราะห์เย็นที่ค้นพบใหม่หลายดวงมีอุณหภูมิใกล้เคียงกับโลก แต่มีเพียงไม่กี่ดวงที่เย็นพอจะกักเก็บเมฆน้ำได้ และพบวัตถุมีขนาดใหญ่กว่าดาวเคราะห์ แต่เบากว่าดาวฤกษ์ ซึ่งก็คือดาวแคระน้ำตาล เครดิตฟรี ดาวเคราะห์เย็นจัดว่าเป็นตัวที่ให้ข้อมูลเชิงลึกใหม่ๆ เกี่ยวกับการก่อตัวและชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ ส่วนดาวแคระน้ำตาลที่มีความเย็นนั้น จะช่วยให้นักวิทยาศาสตร์ประเมินจำนวนของดาวเคราะห์เย็นที่ลอยอยู่อิสระและโคจรไปมาในอวกาศระหว่างดวงดาวที่ใกล้ดวงอาทิตย์ได้อย่างแม่นยำ…
-
Recent Posts
Archives
Categories
Tags
กิจการอวกาศ ขยะอวกาศ จรวด จูปิเตอร์ 5 ดวงจันทร์ ดวงจันทร์แกนีมีด ดวงอาทิตย์ ดาวบริวาร ดาวพฤหัสบดี ดาวพุธ ดาวยูเรนัส ดาวศุกร์ ดาวหาง ดาวอังคาร ดาวเกตุ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเทียม ดาวเนปจูน ดาวเสาร์ ต่างดาว ทฤษฎี ทฤษฎีทางดาราศาสตร์ นักบินอวกาศ นักวิทยาศาสตร์ นาซา บิกแบง ยานสำรวจ ยานอวกาศ ยูโรปา ระบบสุริยะ ลี้ลับ วัตถุขนาดใหญ่ สำรวจอวกาศ ห้วงอวกาศ อวกาศ อาคันตุกะ เอเลี่ยน แม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง แอมัลเธีย โบราณ โลก ใจกลางระบบสุริยะ ไททัน