ฮือฮา! นักวิทย์ตรวจพบ ‘คลื่นความโน้มถ่วง’ครั้งที่ 2ทีมนักวิทยาศาสตร์โครงการไลโก ตรวจพบคลื่นความโน้มถ่วงเป็นครั้งที่ 2 แล้ว เพียง 4 เดือนหลังจากการประกาศการค้นพบคลื่นนี้ครั้งแรกเมื่อเดือน ก.พ.ที่ผ่านมา สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า ทีมนักวิทยาศาสตร์ที่ หอสังเกตการณ์คลื่นความโน้มถ่วงโดยใช้อินเตอร์เฟอโรมิเตอร์ชนิดเลเซอร์ หรือ ไลโก (Laser Interferometer Gravitational-Wave Observatory: LIGO) ยืนยันในวันพุธที่ 15 มิ.ย. ว่า พวกเขาตรวจพบคลื่นความโน้นถ่วง ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของหลุมดำ 2 ดวงในอวกาศเป็นครั้งที่ 2 แล้ว หลังจากยืนยันการค้นพบครั้งแรกไปเมื่อ 11 ก.พ. สล็อตออนไลน์ ทั้งนี้ คลื่นความโน้มถ่วง หรือ คลื่นที่ทำให้เกิดการกระเพื่อมของปริภูมิ-เวลา (space time) ซึ่งอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ คาดการณ์เอาไว้ใน ‘ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป’ (General relativity) เมื่อปี 1915 โดยเป็นคลื่นที่ปลดปล่อยออกมา เมื่อวัตถุที่มีมวลมากเคลื่อนที่ด้วยความเร่งสูงหรือมีกิจกรรมรุนแรงในอวกาศ เช่น ดาวนิวตรอนคู่หรือหลุมดำคู่โคจรรอบกัน, ซุปเปอร์โนวา, รังสีแกมมาระเบิดในอวกาศ…
-
Recent Posts
Archives
Categories
Tags
กิจการอวกาศ ขยะอวกาศ จรวด จูปิเตอร์ 5 ดวงจันทร์ ดวงจันทร์แกนีมีด ดวงอาทิตย์ ดาวบริวาร ดาวพฤหัสบดี ดาวพุธ ดาวยูเรนัส ดาวศุกร์ ดาวหาง ดาวอังคาร ดาวเกตุ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเทียม ดาวเนปจูน ดาวเสาร์ ต่างดาว ทฤษฎี ทฤษฎีทางดาราศาสตร์ นักบินอวกาศ นักวิทยาศาสตร์ นาซา บิกแบง ยานสำรวจ ยานอวกาศ ยูโรปา ระบบสุริยะ ลี้ลับ วัตถุขนาดใหญ่ สำรวจอวกาศ ห้วงอวกาศ อวกาศ อาคันตุกะ เอเลี่ยน แม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง แอมัลเธีย โบราณ โลก ใจกลางระบบสุริยะ ไททัน