Tag: ขยะอวกาศ

ติดตามขยะอวกาศ

ติดตามขยะอวกาศลำพังจำนวนขยะบนโลกของเราทุกวันนี้ ก็เป็นปัญหาหนักอกหนักใจอยู่แล้ว หลายประเทศหลายภาคส่วน ก็พยายามแก้ปัญหากันมาอย่างต่อเนื่อง แต่ในอวกาศรอบโลกก็ยังเต็มไปด้วยขยะเช่นกัน ขยะเหล่านี้คือเศษซากชิ้นส่วนที่หลุดออกมาจากจรวด ยานอวกาศ ดาวเทียม รวมถึงชิ้นส่วนยานอวกาศที่หมดอายุการใช้งาน แต่ยังคงล่องลอยโคจรรอบโลก แม้ว่าถูกยุติการทำงานไปนานแล้ว สล็อตออนไลน์ มีข้อมูลระบุว่าวัตถุประมาณ 500,000 ชิ้นกำลังโคจรอยู่รอบโลก โดยขนาดและชนิดของวัตถุเหล่านั้นมีตั้งแต่สกรูแบบเดี่ยว ไปจนถึงถังเชื้อเพลิงของจรวด ขยะอวกาศพวกนี้เป็นภัยต่อการเดินทางของจรวด ยานอวกาศ และดาวเทียม ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการชนกันล่าสุด ทีมนักวิทยาศาสตร์จากสถาบันวิจัยอวกาศแห่งออสเตรีย ออกมาให้ข่าวชวนดีใจว่า พวกเขาค้นพบวิธีตรวจจับเศษซากขยะอวกาศแม้จะเป็นเวลากลางวันก็ยังตรวจจับได้ ซึ่งอาจช่วยให้ดาวเทียมสามารถหลบเลี่ยงกองขยะที่โคจรรอบโลกเหล่านี้ jumboslot ทีมเผยว่าอาศัยการใช้เลเซอร์ที่เชื่อว่ามีความเป็นไปได้ในการตรวจจับซากขยะจากพื้นดิน แต่จนถึงทุกวันนี้วิธีใช้งานแสงเลเซอร์นั้นทำได้เพียงไม่กี่ชั่วโมงในช่วงเวลาพลบค่ำ ทีมจึงคิดว่าน่าจะขยายวิธีมองเห็นขยะอวกาศโดยใช้การผสมผสานระหว่างเครื่องขยายมุมมองและตัวกรองแสง เพื่อเพิ่มความคมชัดของวัตถุที่ปรากฏบนท้องฟ้าในตอนกลางวันนอกจากนี้ พวกเขายังพัฒนาระบบซอฟต์แวร์ตรวจจับเป้าหมายแบบเรียลไทม์หรือตามเวลาจริง ที่จะทำนายอย่างแม่นยำว่าเมื่อใดที่วัตถุบางอย่างจะสังเกตได้ โดยรวมแล้วเทคนิคที่คิดค้นขึ้นใหม่นี้สามารถเพิ่มเวลาในการสังเกตการณ์กองขยะนอกโลกได้ถึง 6-22 ชั่วโมงต่อวัน เครดิตฟรี เชื่อว่านี่อาจเป็นจุดเริ่มต้นในการเพิ่มกำลังการผลิตของเลเซอร์เพื่อใช้ตรวจจับขยะอวกาศในอนาคตอันใกล้ และอาจมีส่วนสำคัญในการปรับปรุงการทำนายวงโคจร โดยเฉพาะการเตือนการชน ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญต่อภารกิจต่างๆในอวกาศ. สล็อต


อีเอสเอเตรียมลงนาม นำขยะอวกาศกลับโลก

อีเอสเอเตรียมลงนาม นำขยะอวกาศกลับโลกขยะอวกาศ (Space Debris) หมายถึง สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นและถูกทิ้งไว้ในวงโคจรรอบโลกโดยไม่ใช้งานแล้ว ได้แก่ ดาวเทียมเก่าที่หมดอายุ ท่อนจรวดนำส่งดาวเทียมและยานอวกาศ ฝาครอบดาวเทียมส่วนหัวจรวด น็อต ข้อต่อ และชิ้นส่วนต่างๆ ของจรวด กากเชื้อเพลิงที่หลงเหลือตกค้าง ของเสียซึ่งทิ้งออกจากยานอวกาศ รวมทั้งเศษชิ้นส่วนที่เกิดจากการพุ่งชนกันเองของขยะอวกาศ และการระเบิดของซากจรวดและดาวเทียม สล็อตออนไลน์ เกือบหกสิบปีมาแล้วที่มนุษย์เริ่มทิ้งขยะไว้ในอวกาศ โดยการส่งดาวเทียมสปุตนิก 1 ขึ้นสู่วงโคจรรอบโลก เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2500 สปุตนิก 1 มีขนาดเพียงแค่ลูกบอลชายหาด แต่การส่งมันขึ้นสู่อวกาศต้องใช้จรวดขีปนาวุธข้ามทวีป R-7 rocket ซึ่งมีขนาดสูง 30 เมตร และหนัก 300 ตัน จึงจะขับดันให้มันขึ้นสู่วงโคจรรูปวงรีที่ระยะสูงจากพื้นโลก 215 – 939 กิโลเมตร เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 29,000 กิโลเมตร/ชั่วโมง โคจรรอบโลกรอบละ 96.2 นาที สปุตนิก 1 เป็นดาวเทียมดวงแรกของโลก ซึ่งถูกส่งขึ้นสู่อวกาศโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทดลองส่งสัญญาณวิทยุกลับลงมาบนพื้นโลก อย่างไรก็ตามมันมีอายุใช้งานเพียง…


สร้างดาวเทียมด้วยไม้ ลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม

สร้างดาวเทียมด้วยไม้ ลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมมีข้อเท็จจริงที่ว่าดาวเทียมทุกดวงที่กลับเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลกจะเผาไหม้และสร้างอนุภาคอลูมินา (alumina) ขนาดเล็กและลอยอยู่ในบรรยากาศชั้นบนเป็นเวลาหลายปี จนในที่สุดก็จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตามมา ปัจจุบันมีดาวเทียมประมาณ 6,000 ดวงที่โคจรรอบโลก แต่มีเพียง 60% เท่านั้นยังคงใช้งานอยู่ คาดการณ์ว่าดาวเทียมเกือบ 1,000 ดวงจะถูกส่งขึ้นสู่อวกาศในแต่ละปีของช่วงทศวรรษที่จะถึงนี้ สล็อตออนไลน์ นักวิทยาศาสตร์ผุดแนวคิดสร้างดาวเทียมด้วยวัสดุทางเลือกเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ล่าสุด Sumitomo Forestry บริษัทยักษ์ใหญ่ด้านธุรกิจไม้และรับสร้างบ้านของญี่ปุ่นร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเกียวโต ประกาศโครงการพัฒนาเพื่อทดสอบแนวคิดใช้ไม้เป็นส่วนประกอบในการสร้างดาวเทียมที่ใช้งานได้ดวงแรกของโลก งานนี้จึงท้าทายอย่างมาก ซึ่งนักวิทยาศาสตร์กำลังสำรวจว่าไม้ชนิดใดบ้างที่สามารถทนต่อสภาวะที่รุนแรงของอวกาศ ไม่ว่าจะเป็นความผันผวนของอุณหภูมิและการระเบิดของรังสี ประโยชน์สำคัญของดาวเทียมที่ทำจากไม้คือ มันจะเผาไหม้จนหมดเมื่อกลับมายังโลก แถมผลพลอยได้ที่สำคัญอีกประการหนึ่งของการใช้ไม้สร้างเปลือกหุ้มดาวเทียมก็คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะผ่านเข้ามาได้ทันที นั่นหมายความว่าสามารถวางเสาอากาศได้ ทั้งนี้ ทีมนักวิทยาศาสตร์คาดว่าจะหาวัสดุที่พร้อมสำหรับการสร้างดาวเทียมและช่วยให้ง่ายต่อการออกแบบ โดยวาดหวังว่าจะสามารถทดสอบดูความทนทานในช่วง 2 ปีข้างหน้า jumboslot ปัญหาจากขยะอวกาศปัจจุบัน ดาวเทียมถูกนำมาใช้เพื่อการสื่อสารทางไกล การนำทาง และการพยากรณ์อากาศและสภาพแวดล้อมมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามข้อมูลของ World Economic Forum (WEF) มีวัตถุเกือบ 6,000 ชิ้นที่โคจรรอบโลก และประมาณ 60% ของวัตถุพวกนั้น ก็ไม่ได้ใช้งานเป็นดาวเทียมแล้ว แต่เป็นเศษซากที่ลอยเคว้งคว้างไปมา เป็นขยะอวกาศไปแล้ว ในขณะที่นาซา ประมาณการณ์ไว้เมื่อทศวรรษที่แล้วว่า…