Month: April 2021

“สเปซเอ็กซ์” ปล่อยจรวดส่งดาวเทียม ทุบสถิติ ใช้จรวดขับดัน ซ้ำครั้งที่ 6

“สเปซเอ็กซ์” ปล่อยจรวดส่งดาวเทียม ทุบสถิติ ใช้จรวดขับดัน ซ้ำครั้งที่ 6 บริษัท “สเปซเอ็กซ์”สเปซเอ็กซ์ (อังกฤษ: Space Exploration Technologies Corporation – SpaceX) เป็นบริษัทเอกชนทางด้านธุรกิจการขนส่งทางอวกาศ ประเทศสหรัฐอเมริกา สำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองฮาวโทรน, รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ได้ปล่อยจรวด “ฟัลคอน 9” ส่งดาวเทียมรวม 61 ดวงสู่วงโคจร ทำสถิติใหม่ใช้ซ้ำ “จรวดขับดัน” เป็นรอบที่ 6 สล็อตออนไลน์ (18 ส.ค.) บริษัทเทคโนโลยีด้านขนส่งอวกาศ “สเปซเอ็กซ์” ของนายอีลอน มัสก์ ประสบความสำเร็จในการปล่อยจรวด “ฟัลคอน 9” บรรทุก “สตาร์ลิงค์” ดาวเทียมส่งสัญญาณอินเทอร์เน็ต จำนวน 58 ดวง และ “สกายแซท” ดาวเทียมเล็กสังเกตการณ์โลกอีก 3 ดวงสู่วงโคจรนอกโลก jumboslot จรวดฟัลคอน 9 ขึ้นจากฐานปล่อยจรวดสถานีกองทัพอากาศที่แหลมคานาเวรัล…


ติดตามยานสำรวจของนาซาไปดาวอังคาร

ติดตามยานสำรวจของนาซาไปดาวอังคารความก้าวหน้าของเทคโนโลยีด้านอวกาศ ปัจจุบันมีหลายประเทศส่งยานอวกาศออกไปสำรวจดวงดาวต่างๆ ครั้งล่าสุดก็คือภารกิจ Mars 2020 ขององค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกาหรือองค์การนาซา สล็อตออนไลน์ ที่ส่งยานหุ่นยนต์เพอร์เซเวียแรนซ์ (Perseverance rover) และเฮลิคอปเตอร์อินเจนูอิตี (Mars Helicopter Ingenuity) ไปสำรวจดาวอังคารเมื่อ 30 ก.ค.ที่ผ่านมาถึงแม้ยานกำลังอยู่ในช่วงเดินทางในห้วงอวกาศอันมืดมิด jumboslot ชาวโลกก็สามารถติดตามท่องอวกาศไปพร้อมกับยานหุ่นยนต์เพอร์เซเวียแรนซ์ได้แบบเรียลไทม์หรือตามเวลาจริง ผ่านช่องทางที่องค์การนาซามอบให้ ก็คือเข้าไปที่แอปพลิเคชัน Eyes on the Solar System ที่แสดงให้เห็นถึงข้อมูลการวางแผนเส้นทางของยานหุ่นยนต์เพอร์เซเวียแรนซ์ ซึ่งมุ่งหน้าไปยังดาวอังคารด้วยระยะทางหลายล้านกิโลเมตรในอีก 6 เดือนข้างหน้า โดยจะลงจอดที่บริเวณแอ่งเยเซโร (Jezero Crater) บนดาวเคราะห์สีแดง Eyes on the Solar System ไม่เพียงทำให้เห็นระยะห่างระหว่างดาวเคราะห์และยานอวกาศในขณะนี้ ยังช่วยตรวจสอบความเร็วสัมพัทธ์ระหว่างดาวอังคารกับโลก หรือดาวพลูโตที่ถูกจัดสถานะเป็นดาวเคราะห์แคระ เครดิตฟรี ทั้งยังเลือกการชมแบบ 3 มิติได้ด้วย แต่ต้องมองผ่านแว่นตาที่มีแผ่นฟิลเตอร์ 2 สี คือสีแดงข้างซ้ายและสีฟ้าข้างขวา นอกจากนี้ นาซายังชวนส่องสำรวจโลกด้วยแอปพลิเคชัน Eyes on the…


นักวิทยาศาสตร์พลเมืองพบดาวแคระน้ำตาล

นักวิทยาศาสตร์พลเมืองพบดาวแคระน้ำตาลดาวแคระน้ำตาลเป็นวัตถุที่เปล่งแสงออกมาจางๆจนดูริบหรี่มาก ซึ่งดาวแคระน้ำตาลมีมวลไม่เพียงพอที่จะเป็นดาวฤกษ์ได้ หรือจะกล่าวได้ว่า ใจกลางของดาวแคระน้ำตาลมีอุณหภูมิและความดันไม่มากพอที่จะจุดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันขึ้นมาได้ วัตถุที่เป็นดาวแคระน้ำตาลจะมีมวลอยู่ระหว่างดาวเคราะห์แก๊สยักษ์ที่ใหญ่ที่สุด กับดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อยสุด ซึ่งตรงกับช่วงค่ามวลระหว่าง 12 – 75 เท่าของมวลดาวพฤหัสบดี ขณะที่ดาวแคระน้ำตาลส่วนใหญ่ถูกพบว่าโคจรรอบดาวฤกษ์ดวงอื่น แต่ดาวแคระน้ำตาลบางดวงเคลื่อนที่ไปอย่างโดดเดี่ยวในห้วงอวกาศ สล็อตออนไลน์ วัตถุประเภทนี้ก่อตัวขึ้นมาด้วยวิธีเดียวกันกับการก่อตัวของดาวฤกษ์ แต่ดาวแคระน้ำตาลจะเปล่งแสงที่มีสีออกไปทางสีน้ำตาล เนื่องจากพลังงานความร้อนที่เกิดขึ้นจากการปะทะกันระหว่างวัสดุภายในตัวดาว jumboslot โครงการวิทยาศาสตร์ของพลเมืองหรือการที่ประชาชนทั่วไปได้มีโอกาสช่วยงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์หลายแขนงเป็นงานอาสาสมัครที่มีกระแสแรงไม่น้อยในปัจจุบัน พวกเขาถูกเรียกว่านักวิทยาศาสตร์พลเมือง (Citizen scientists) หลายคนทำผลงานได้น่าทึ่ง เมื่อเร็วๆนี้ อาสาสมัครของแบล็กยาร์ด เวิลด์ส : พลาเน็ต ไนน์ (Backyard Worlds : Planet 9) เป็นโครงการวิทยาศาสตร์พลเมืองที่ได้รับทุนจากองค์การนาซา มีจุดมุ่งหมายค้นหาดาวแคระน้ำตาลใหม่ๆ เผยว่าจากการใช้บริการหอดูดาวเคค (W. M. Keck Observatory) ในฮาวาย ทำให้ค้นดาวเคราะห์เย็นใกล้ดวงอาทิตย์ประมาณ 100 ดวง ดาวเคราะห์เย็นที่ค้นพบใหม่หลายดวงมีอุณหภูมิใกล้เคียงกับโลก แต่มีเพียงไม่กี่ดวงที่เย็นพอจะกักเก็บเมฆน้ำได้ และพบวัตถุมีขนาดใหญ่กว่าดาวเคราะห์ แต่เบากว่าดาวฤกษ์ ซึ่งก็คือดาวแคระน้ำตาล เครดิตฟรี ดาวเคราะห์เย็นจัดว่าเป็นตัวที่ให้ข้อมูลเชิงลึกใหม่ๆ เกี่ยวกับการก่อตัวและชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ ส่วนดาวแคระน้ำตาลที่มีความเย็นนั้น จะช่วยให้นักวิทยาศาสตร์ประเมินจำนวนของดาวเคราะห์เย็นที่ลอยอยู่อิสระและโคจรไปมาในอวกาศระหว่างดวงดาวที่ใกล้ดวงอาทิตย์ได้อย่างแม่นยำ…


มาไกลเหลือเกิน นักวิทย์ตรวจพบคลื่นแรงโน้มถ่วงหลุมดำปะทะกัน 7,000ล้านปีก่อน

นักวิทยาศาสตร์ยืนยันการตรวจพบคลื่นแรงโน้มถ่วงสะท้อนมาจากการควบรวมกันของหลุมดำ เมื่อ 7,000 ล้านปีก่อน ซึ่งได้ทำให้เกิด “หลุมดำขนาดกลาง” ที่เพิ่งมีการค้นพบเป็นครั้งแรกเว็บไซต์ข่าว CNN รายงานเมื่อ 3 ก.ย. 2563 ว่า นักวิทยาศาสตร์ยืนยันการตรวจพบคลื่นความโน้มถ่วงสัญญาณคอสมิกจากห้วงอวกาศ ที่สะท้อนมาถึงโลกเมื่อวันที่ 21 พ.ค.2562 ว่าเกิดจากการโคจรเข้าใกล้กัน จนเกิดการชน และการควบรวมกันของหลุมดำ 2 แห่ง โดยเรียกเหตุการณ์นี้ว่า “GW190521” ซึ่งเกิดขึ้นห่างจากโลกไปประมาณ 150,000 ล้านล้านล้านกิโลเมตร (150 billion trillion km.) และคลื่นความโน้มถ่วงต้องใช้เวลาถึง 7,000 ล้านปีในการแผ่ขยายมาถึงโลก สล็อตออนไลน์ ทีมนักวิทยาศาสตร์ประจำอุปกรณ์สังเกตการณ์คลื่นความโน้มถ่วงไลโก (LIGO) ในสหรัฐฯ และเวียร์โก (VIRGO) ในอิตาลี เปิดเผยว่า นับเป็นการค้นพบว่ามี “หลุมดำขนาดกลาง” (intermediate-mass black hole) เป็นครั้งแรก โดยหลุมดำแรกมีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ 66 เท่า ส่วนหลุมดำที่ 2 มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ 85…


จีนทำลับๆ ล่อๆ แอบทดสอบยิงจรวดแบบใช้ซ้ำได้

มาแปลก จีนซุ่มทดสอบปล่อยจรวดรุ่นใหม่ที่นำกลับมาใช้ซ้ำได้ เชิญสื่อทำข่าวแต่ห้ามบันทึกภาพและวิดีโอระหว่างการปล่อยยาน เมื่อวันที่ 4 ก.ย. สำนักข่าวซินหัว รายงานว่า จีนประสบความสำเร็จในการทดลองปล่อยจรวด “ลอง มาร์ช-2เอฟ” (Long March-2F) บรรทุกยานอวกาศที่ผลิตด้วยเทคโนโลยีล่าสุด สามารถนำกลับมาใช้ซ้ำได้อีก ที่ฐานปล่อยจรวดของศูนย์ดาวเทียมจิ่วฉวน ใกล้กับเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน สล็อตออนไลน์ รายงานข่าวระบุว่า หลังจากถูกส่งขึ้นสู่วงโคจรแล้ว ยานอวกาศจะทำการทดสอบเทคโนโลยีนำกลับมาใช้ซ้ำได้ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการพัฒนาด้านอวกาศอย่างสันติ แล้วจากนั้นจะกลับมาลงจอดบนแผ่นดินจีนอีกครั้งตามกำหนด โดยนับเป็นภารกิจขึ้นสู่อวกาศครั้งที่ 14 ของจรวด “ลอง มาร์ช-2เอฟ” jumboslot ด้านเว็บไซต์ข่าว “เซาธ์ ไชน่า มอร์นิ่ง โพสต์” รายงานว่า บรรดาเจ้าหน้าที่ที่อยู่ในเขตศูนย์ดาวเทียม ตลอดจนสื่อมวลชนที่ไปทำข่าว ไม่ได้รับอนุญาตให้บันทึกภาพนิ่ง หรือวิดีโอระหว่างการปล่อยจรวด และห้ามไม่ให้มีการหารือหรือสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับโครงการนี้ทางออนไลน์หรือตามสื่อต่างๆขณะที่แหล่งข่าวระบุว่า มีความเป็นไปได้ที่จรวดใช้ซ้ำได้ของจีน อาจจะคล้ายคลึงกับจรวดนำกลับมาใช้ซ้ำได้ชื่อว่า “เอ็กซ์-37บี” ของบริษัทโบอิ้ง สหรัฐฯ ซึ่งปัจจุบันโครงการด้านอวกาศของสหรัฐฯ ได้มีการนำจรวดไร้คนขับรุ่นนี้มาใช้เป็นกระสวยอวกาศขนาดเล็กในการขนส่งลำเลียงสิ่งของสัมภาระ เครดิตฟรี ก่อนหน้านี้ เมื่อเดือน พ.ค. มีรายงานข่าวว่ารัฐบาลจีนชื่นชมทีมนักวิจัยที่ประสบความสำเร็จในการพัฒนาเครื่องยนต์ยานอวกาศเร็วเหนือเสียงที่สามารถลดอุณหภูมิความร้อนเองได้ และอาจถูกนำมาใช้ในการผลิตยานอวกาศที่สามารถนำกลับมาใช้ซ้ำได้ สล็อต


พิสูจน์แบคทีเรียรวมตัวกันก็อยู่ได้ในอวกาศ

พิสูจน์แบคทีเรียรวมตัวกันก็อยู่ได้ในอวกาศลองนึกว่าแบคทีเรียเดินทางผ่านอวกาศและลงมาอยู่บนดาวเคราะห์ และเมื่อพบสภาวะที่เหมาะสมต่อการอยู่รอด มันก็เริ่มขยายเผ่าพันธุ์เพิ่มทวีคูณ ทำให้นักวิทยาศาสตร์ตั้งทฤษฎีแพนสเปอร์เมีย (panspermia) ที่สนับสนุนความเป็นไปได้ว่าจุลินทรีย์อาจอพยพไปมาระหว่าง ดาวเคราะห์และกระจายชีวิตไปในจักรวาล สล็อตออนไลน์ เพื่อพิสูจน์ทฤษฎีนี้ ใน พ.ศ.2561 มีนักวิทยาศาสตร์ด้านเภสัชศาสตร์และชีววิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยโตเกียว ในญี่ปุ่น ทดสอบการมีอยู่ของจุลินทรีย์ในชั้นบรรยากาศโดยใช้เครื่องบินและบอลลูนวิทยาศาสตร์ ตรวจพบแบคทีเรียสกุลไดโนคอคคัส (Deinococcus) ลอยอยู่เหนือพื้นโลก 12 กิโลเมตร นักวิทยาศาสตร์รู้ว่าไดโนคอคคัสมักก่อตัวเป็นกลุ่มขนาดใหญ่กว่า 1 มิลลิเมตร แถมทนต่อความรุนแรงจากรังสีอัลตราไวโอเลต ทีมวิจัยเผยว่าทดลองวางมวลรวมของไดโนคอคคัสที่แห้งแล้วในแผงรับแสงภายนอกสถานีอวกาศนานาชาติ (ISS) โดยแบคทีเรียที่ใช้ทดสอบจะมีความหนาต่างกัน พวกมันได้สัมผัสกับสภาพแวดล้อมในอวกาศเป็นเวลา 1-2 หรือ 3 ปี เพื่อเฝ้าดูการอยู่รอด jumboslot ผ่านไป 3 ปีนักวิจัยพบว่ามวลรวมทั้งหมดของแบคทีเรียที่สูงกว่า 0.5 มิลลิเมตร บางส่วนรอดชีวิตในอวกาศ และเห็นว่าแบคทีเรียตรงพื้นผิวที่ตายไป ได้สร้างชั้นป้องกันให้กับแบคทีเรียที่อยู่ข้างใต้เพื่อให้อยู่รอด เป็นไปได้ว่าพวกมันจะรอดชีวิตได้นาน 15-45 ปีบนสถานีอวกาศนานาชาติ การทดลองนี้ช่วยให้นักวิจัยคาดการณ์ได้ว่ากลุ่มแบคทีเรียที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 มิลลิเมตรน่าจะอยู่รอดได้นานถึง 8 ปีในสภาวะนอกโลก. เครดิตฟรี ถึงตอนนี้นักวิทยาศาสตร์ได้ข้อสรุปชัดเจนแล้วประการหนึ่ง นั่นคือ เชื้อราเซลล์เดียวและเชื้อแบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตก่อโรคที่พบทั่วไปบนโลก สามารถใช้ชีวิตอยู่ในสภาวะไร้น้ำหนักได้…


เริ่มแล้ว ยุโรปลงทุน 4,700 ล้านพัฒนาระบบป้องกันดาวเคราะห์น้อยชนโลก

เริ่มแล้ว ยุโรปลงทุน 4,700 ล้านพัฒนาระบบป้องกันดาวเคราะห์น้อยชนโลกองค์การอวกาศยุโรป ลงทุนกว่า 4,700 ล้านบาททำสัญญาจ้างบริษัทดาวเทียมเยอรมนีพัฒนาระบบ “เฮรา” ป้องกันดาวเคราะห์น้อยชนโลก สล็อตออนไลน์ (15 ก.ย.) องค์การอวกาศยุโรป (European Space Agency-ESA) เปิดเผยว่าได้ทำสัญญาว่าจ้างบริษัทผู้ผลิตดาวเทียม OHB ของเยอรมนี เป็นมูลค่า 129.4 ล้านยูโร หรือกว่า 4,700 ล้านบาท ให้พัฒนา “เฮรา” (Hera) ระบบป้องกันโลกจากดาวเคราะห์น้อย เพิ่มเติมจากระบบป้องกันดาวเคราะห์น้อยของนานาชาติเฮรา ตั้งชื่อตามเทพีเฮรา ผู้คุ้มครองเรื่องการแต่งงานและครอบครัวของชาวกรีก โดยระบบเฮรา บรรทุกดาวเทียมทรงลูกบาศก์ “คิวบ์แซทส์” จำนวน 2 ดวง ติดตั้งระบบสื่อสารกับศูนย์ควบคุมบนโลก ภายในสัญญาว่าจ้าง รวมไปถึงการออกแบบ บูรณาการและการทดสอบใช้งาน หลังจากนั้นจะร่วมมือกับทีมงานของ ESA ในการปล่อยดาวเทียมระบบเฮรา ขึ้นสู่วงโคจรในปี 2567 jumboslot หากทุกขั้นตอนดำเนินการไปได้ตามแผน ระบบเฮรา จะโคจรรอบดาวเคราะห์น้อยคู่ “ดีดิมอส” (Didymos) และ “ดิมอร์ฟอส”…


“เศรษฐพงค์” ปิ๊งไอเดีย หนุน นร.สร้างดาวเทียม เตรียมพร้อมด้านอวกาศ

“เศรษฐพงค์” ส่งเสริมนักเรียนเข้าค่ายเรียนรู้สร้างดาวเทียม Cubesat-Smallsat ชี้เป็นการสร้างบุคคลากร เตรียมพร้อมอุตสาหกรรมอวกาศ เสริมสร้าง ศก.ให้แข็งแกร่งในอนาคต ช่วยต่อยอดสู่การพัฒนาเทคโนโลยีอื่นๆเมื่อวันที่ 29 ก.ย.63 พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคภูมิใจไทย (ภท.) ในฐานะรองประธานคณะกรรมาธิการการสื่อสาร โทรคมนาคม และดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) กล่าวถึงแนวคิดการส่งเสริมให้นักเรียนไทยสร้างดาวเทียมขนาดเล็ก Cubesat และ Smallsat ว่า ตรงนี้เป็นการต่อยอดเชื่อมโยงจากแนวคิดที่ต้องการให้ประเทศไทยมี Spcae port หรือ ท่าอวกาศยาน ซึ่งจะเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กนักเรียนที่สนใจ หรือนักเรียนในต่างจังหวัดที่ห่างไกล ได้มีโอกาสเข้าถึงการเรียนรู้ด้านอวกาศ เป็นการเตรียมและสร้างบุคลากรด้านอวกาศให้กับประเทศได้ สล็อตออนไลน์ หากประเทศไทยเราสร้างได้ โดยเริ่มที่มัธยมได้ ตรงกับการศึกษาแบบ STEM (Science Technology Engineering and Mathematics Education:STEM Education) เป็นการศึกษาที่บูรณาการศาสตร์ด้านต่างๆ ให้เด็กสร้างโปรเจค มีตัวอย่างในต่างประเทศ เช่น โครงการของ Irvine01 เป็นการแสดงความร่วมมือของโรงเรียนมัธยมปลายในอเมริกา เพื่อทำโปรเจคนี้และโครงการ FossaSat ที่นิวซีแลนด์…


นาซาส่งส้วมไร้แรงโน้มถ่วงรุ่นใหม่ไปยังสถานีอวกาศ

นาซาส่งส้วมไร้แรงโน้มถ่วงรุ่นใหม่ไปยังสถานีอวกาศ นาซาขนส่งส้วมไร้แรงโน้มถ่วงรุ่นใหม่ล่าสุดขึ้นไปให้นักบินอวกาศทดลองใช้ที่สถานีอวกาศ ระบุรุ่นนี้ใช้ดีทั้งหญิงและชาย สล็อตออนไลน์ เมื่อวันที่ 2 ต.ค. องค์การบริหารการบินอวกาศแห่งชาติของสหรัฐฯ หรือนาซา ร่วมกับบริษัทนอร์ธรัป กรัมแมน ประสบความสำเร็จในการปล่อยจรวดบรรทุกแคปซูล “ซิกนัส” ขึ้นจากฐานปล่อยจรวดบนเกาะวอลลอป ชายฝั่งรัฐเวอร์จิเนีย มุ่งหน้าไปยังสถานีอวกาศนานาชาติ หรือไอเอสเอสแคปซูลซิกนัส ลำเลียงสิ่งของต่างๆ น้ำหนักรวมกว่า 3,600 กิโลกรัม รวมไปถึง “ระบบบำบัดของเสียครอบจักรวาล” (Universal Waste Management System-UWMS) สุขภัณฑ์แรงโน้มถ่วงต่ำรุ่นใหม่ ผลิตจากวัสดุไทเทเนียม มูลค่า 23 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (727 ล้านบาท) jumboslot เมลิสซา แมคคินเลย์ ผู้จัดการโครงการของนาซา เปิดเผยว่า สุขภัณฑ์รุ่นใหม่นี้ทำงานด้วยระบบสุญญากาศ (vacuum system) มีระบบดูดของเสียออกจากร่างกายลงสู่ถังบำบัดในสภาพแรงโน้มถ่วงต่ำ มีน้ำหนัก 45 กิโลกรัม ความสูง 71 เซนติเมตร ซึ่งมีขนาดเล็กลง 65% และเบาลง 40% เมื่อเทียบกับรุ่นที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ได้รับการออกแบบมาเพื่อการใช้งานที่สะดวกสำหรับนักบินอวกาศทั้งหญิงและชาย…


เศรษฐพงค์” แนะทำแผนพัฒนาฯควบคู่ ก.ม.อวกาศ ชี้หากช้าเสียโอกาส ปท.อื่น

เศรษฐพงค์” แนะทำแผนพัฒนาฯควบคู่ ก.ม.อวกาศ ชี้หากช้าเสียโอกาส ปท.อื่น“เศรษฐพงค์” แนะทำแผนพัฒนากิจการอวกาศ ควบคู่ทำกฎหมายกิจการอวกาศ เชื่อหากมีกลยุทธ์ที่แหลมคมช่วยพัฒนา New Space Economy เผยหากช้าจะเสียโอกาสให้ประเทศอื่น เมื่อวันที่ 8 ต.ค.63 พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคภูมิใจไทย (ภท.) ในฐานะรองประธานกรรมาธิการการสื่อสาร โทรคมนาคม และดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) กล่าวว่า เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายอวกาศแห่งชาติ ได้มีการประชุมเพื่อให้ประเทศไทยมีกฎหมาย และหน่วยงานกลางบูรณาการนโยบาย และแผนกิจการอวกาศพัฒนากิจการอวกาศให้เกิดประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง ที่จะทำให้ประเทศไทยสามารถก้าวสู่ยุคใหม่ของกิจการอวกาศ หรือ New Space Economy สล็อตออนไลน์ ซึ่งที่ประชุมมีมติเห็นชอบร่าง พ.ร.บ.กิจการอวกาศ โดยให้รับข้อสังเกตข้อคิดเห็นจากที่ประชุมไปปรับปรุง เพื่อให้กฎหมายมีความรัดกุมยิ่งขึ้น ซึ่งตนเห็นด้วยกับแนวนโยบายดังกล่าว แต่ในวันนี้เราต้องมีแผนพัฒนากิจการอวกาศขึ้นมาจริงจัง โดยคู่ขนานกับระหว่างจัดทำกฏหมายด้วย เช่น ต้องมีการวิเคราะห์ว่าประเทศไทยควรเริ่มต้นด้วยกิจการรมอะไรก่อน Ecosystem เป็นอย่างไร อาจจะเป็นเรื่องการสร้างท่าอวกาศยาน ก็จะตามมาด้วยการสร้างจรวด อุตสาหกรรมการสร้างเครื่องยนต์เพื่อขับดันจรวด…